วาโย ฟาร์ม เผยแพร่ความรู้เกี่ยวกับการทำเกษตรทฤษฎีใหม่

กสิกรรมธรรมชาติ เกษตรผสมผสาน และการพึ่งพาตนเอง

ตามหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง ศาสตร์พระราชา

รวมถึงการดูแลสุขภาพแบบองค์รวม

 

เศรษฐกิจพอเพียงและทฤษฎีใหม่

ข้อมูลสำคัญที่ควรรู้ก่อนออกแบบโคก หนอง นา โมเดล

ข้อมูลสำคัญที่ควรรู้ก่อนการออกแบบพื้นที่ โคก หนอง นา เกษตรทฤษฎีใหม่ โคก หนอง นา โมเดล สู่ระบบเศรษฐกิจพอเพียง หลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง เกษตรทฤษฎีใหม่ : ศาสตร์พระราชาสู่โคก หนอง นา โมเดล

Read more

เกษตรทฤษฎีใหม่ : ศาสตร์พระราชาสู่โคก หนอง นา โมเดล

เกษตรทฤษฎีใหม่ : ศาสตร์พระราชาสู่โคก หนอง นา โมเดล ( 1/8 ) เกษตรทฤษฎีใหม่ : ศาสตร์พระราชาสู่โคก หนอง นา โมเดล ( 2/8 ) เกษตรทฤษฎีใหม่ : ศาสตร์พระราชาสู่โคก หนอง นา โมเดล

Read more

การขอรับรองเกษตรอินทรีย์ ( Organic ) กับ สำนักมาตรฐานเกษตรอินทรีย์

ขั้นตอนการขอรับรองมาตรฐานเกษตรอินทรีย์กับ ACT ขั้นที่ 1 ศึกษาทำความเข้าใจและเตรียมชุดใบสมัคร ศึกษาประเภทการรับรอง และ มาตรฐานเกษตรอินทรีย์ ขอแนะนำให้ผู้สมัคร เลือกประเภทการผลิต ตามลักษณะการผลิต / การประกอบการของท่านและตลาด เอซีที ออร์แกนิค…

Read more

แพทย์แผนไทย เภสัชกรรมไทย บทที่ 2 เภสัชวัตถุ ( 9-10 )

บทที่ 2 เภสัชวัตถุ 9. สมุนไพรในงานสาธารณสุขมูลฐาน กระทรวงสาธารณสุขได้ตระหนักถึงความสำคัญของการพัฒนาสมุนไพร  โดยมีการร่างเป็นนโยบายไว้เป็นแผนพัฒนาการสาธารณสุข  ฉบับที่  6  เพื่อให้บุคลากรสาธารณสุขในระดับต่างๆ  รวมถึงหมอพื้นบ้านลแพทย์แผนโบราณ  ได้มีความรู้เรื่องสมุนไพรขั้นพื้นฐานเพื่อให้มีหลักในการศึกษาและเรียนรู้อย่างถูกต้อง  ให้เข้าใจถึงประโยชน์และข้อจำกัดของสมุนไพรต่างๆ  สมุนไพรในงานสาธารณสุขมูลฐานมีดังนี้   กระเทียม  ชื่อท้องถิ่น หอมเทียม (เหนือ), กระเทียม หัวเทียม (ภาคใต้), กระเทียมขาว (อุดรธานี),หอมขาว(อุดรธานี), กระเทียม (กลาง), ปะเซวา (กะเหรี่ยง – แม่ฮ่องสอน) ลักษณะของพืช  พืชล้มลุก  มีลำต้นใต้ดิน  เรียกว่า  หัว  หัวมีกลีบย่อยหลายกลีบ         ติดกันแน่น  เนื้อสีขาว  มีกลิ่นฉุนเฉพาะ  บางครั้งในหนึ่งหัวมีกลีบเดียว  เรียก  กระเทียมโทน       หัวค่อนข้างกลม  ใบยาวแบน  ปลายแหลม  ภายในกลวง  ดอกรวมกันเป็นกระจุกที่ปลายช่อ  ดอกสีขาวอมเขียม …

Read more

แพทย์แผนไทย เภสัชกรรมไทย บทที่ 2 เภสัชวัตถุ ( 3-8 )

บทที่ 2 เภสัชวัตถุ 3. สัตว์วัตถุ 3.1  สัตว์บก ได้แก่  สัตว์ที่อาศัยอยู่บนบก  และหากินบนบก ตัวอย่าง แมลงสาบ  ใช้มูลประกอบยา  สรรพคุณ  แก้ลิ้นขาวเป็นฝ้า  เป็นละออง แก้เม็ดยอด ในปาก แก้ฟกบวมที่มีพิษร้อน แก้กามโรค  (ต้องคั่วหรือสุมก่อนปรุง) กวาง  เขาแก่ สรรพคุณ  แก้ไขกาฬ  ไข้พิษ  เขาอ่อน บำรุงร่างกาย บำรุงกำลัง บำรุงความกำหนัด  ถอนพิษผิดสำแดง วัวป่า  เขาวัว  สรรพคุณ  แก้ตัวร้อน ดับพิษไข้ แก้พิษกาฬ ถอนพิษผิดสำแดง ตับบำรุง   ร่างกาย บำรุงตับดี แก้ดีซ่าน บำรุงน้ำดี บำรุงโลหิต เป็นกระสายทำให้ยาแล่นเร็ว  ควายเผือก  กระดูก สรรพคุณ  แก้โรคอันบังเกิดจากกระจำพิษน้ำเหลือง แผลกลาย       กาม…

Read more

แพทย์แผนไทย เภสัชกรรมไทย บทที่ 2 เภสัชวัตถุ ( 2 )

บทที่ 2 เภสัชวัตถุ 2.2  พืชจำพวกเถา- เครือ  ได้แก่  พรรณไม้ที่เป็นเถา- เครือ  เลื้อยพาดพันตามต้นไม้  ตามรั้วเลื้อยตามพื้นดิน  บางเถา- เครือ  ก็สั้น  บางเถา- เครือ  ก็ยาว  บางชนิดมีมือเกาะ  บางชนิดก็ไม่มีมือเกาะ  ซึ่งมนุษย์เรานิยมเรียกว่า  เถา  หรือ  เครือ  ที่นิยมใช้ทำยามี  ดังนี้   กรด  ไม้เถาเนื้อแข็ง   เปลือกต้นและราก  รสฝาด  สรรพคุณ  แก้ท้องร่วง  บิด  แก้ปวดท้อง  จุกเสียด   ผล รสฝาดเบื่อ สรรพคุณ ขับไส้เดือน ต้มเอาน้ำอม  แก้เหงือกบวม  ปากเปื่อย   กระดอม  ไม้เถาเลื้อยตามพื้นดิน  จำพวกมะระขี้นก   ลูก รสขม สรรพคุณ บำรุงน้ำดี แก้ดีแห้ง ดีฝ่อ …

Read more

การกดจุดปฐมเหตุ การแพทย์แผนไต้หวัน

การกดจุดปฐมเหตุ 0-1 : คำนำ 0-2 : อุปกรณ์ 01 : จุดศรีษะ 02 : จุดต้นคอ 03 : จุดหลังส่วนบน 04 : จุดหลังส่วนล่าง 05 : จุดสะบัก 06 : จุดกระเบนเหน็บ 07 : จุดสะโพก 08 : จุดข้อเท้า 09 : จุดหลังเท้า 10 : จุดข้อศอก 11 : จุดหลังมือ 12 : จุดสะบ้า 13 : ท่านอนตะแคง

Read more
ประกาศกระทรวงสาธารณะสุข เรื่อง ยาสามัญประจําบ้านแผนโบราณ พ.ศ. 2556

ประกาศกระทรวงสาธารณะสุข เรื่อง ยาสามัญประจําบ้านแผนโบราณ พ.ศ. 2556

ยาสามัญประจำบ้านแผนโบราณ 24 ขนาน
1. ยาประสะกะเพรา
วัตถุส่วนประกอบ
1 ส่วน : เกลือสินเธาว์
2 ส่วน : พริกไทย ขิง ดีปลี กระเทียม
8 ส่วน : ชะเอมเทศ มหาหิงค์

Read more

แพทย์แผนไทย เภสัชกรรมไทย บทที่ 2 เภสัชวัตถุ ( 1-2 )

บทที่ 2 เภสัชวัตถุ เภสัชวัตถุ   คือ   วัตถุธาตุนานาชนิดที่นำมาใช้ประกอบเป็นยารักษาโรค   ตามคัมภีร์แพทย์กล่าวไว้ว่า   “สรรพวัตถุต่างๆ ที่เกิดขึ้นมาในโลกนี้ล้วนเกิดขึ้นแต่ธาตุ ทั้ง 4 ย่อมเป็นยารักษาโรคได้ทั้งสิ้น”    ตามคำกล่าวก็อาจจะเป็นได้    แต่จะมีสรรพคุณและประโยชน์มากน้อยอย่างไรต้องสุดแล้วแต่ชนิดของวัตถุนั้นๆ    จึงจำเป็นต้องเรียนรู้ให้ลึกซึ้งถึงรูปลักษณะ   ส่วนที่ใช้ ชนิดของวัตถุธาตุอ่อนหรือแก่   เก่าหรือใหม่   สดหรือแห้ง   มีคุณภาพดีหรือเลวอย่างไร   เมื่อนำมาใช้แล้วจะมีสรรพคุณจริงตามตำราหรือไม่    การเอาใจใส่อย่างละเอียดและปราณีอย่างนี้ ต้องมีอยู่ประจำตัวเภสัชกรเสมอ   เภสัชวัตถุจำแนกออกได้เป็น 3 ประเภท คือ  ประเภทที่ 1 พืชวัตถุ   ได้แก่ พรรณไม้ต่างๆ จำแนกออกได้เป็นพืชจำพวกต้น, พืชจำพวกเถา-เครือ,พืชจำพวกหัว-เหง้า,พืชจำพวกผัก และพืชจำพวกหญ้า ซึ่งจะต้องรู้จักส่วนต่างๆ ของพืชที่นำมาใช้เป็นยา เป็นต้นว่า ราก ,หัว,…

Read more

แพทย์แผนไทย เภสัชกรรมไทย บทที่ 3 สรรพคุณเภสัช

แพทย์แผนไทย เภสัชกรรมไทย บทที่ 3 สรรพคุณเภสัช
สรรพคุณเภสัช คือ การรู้จักสรรพคุณของวัตถุที่จะนำมาใช้เป็นยารักษาโรค
การจำแนกรสยาสามารถแบ่งออกเป็น 2 ลักษณะ
1. ยารสประธาน 3 รส
2. รสของตัวยา 4, 6, 8, 9 + จืด

Read more

แพทย์แผนไทย เภสัชกรรมไทย บทที่ 4 คณาเภสัช

แพทย์แผนไทย เภสัชกรรมไทย บทที่ 4 คณาเภสัช
คณาเภสัช : จัดหมวดหมู่ตัวยาหลายสิ่ง ตั้งแต่ 2 สิ่งขึ้นไปรวมกัน เรียกเป็นชื่อเดียวกัน เรียกเป็นคำตรงตัวยา เรียกเป็นคำศัพท์ จัดตั้งพิกัดเพื่อ สะดวกในการจดจำ สะดวกในการเข้าตำรา สะดวกในการปรุงยา จัดตั้งพิกัดอาศัย รสยาไม่ขัดกัน สรรพคุณเสมอ หรือ คล้ายคลึงกัน

Read more

แพทย์แผนไทย เภสัชกรรมไทย บทที่ 5 เภสัชกรรม

แพทย์แผนไทย เภสัชกรรมไทย บทที่ 5 เภสัชกรรม
เภสัชกรรม คือ รู้จักการปรุงยา ผสมเครื่องยาหรือตัวยาตามที่กำหนดในตำรับยา หรือตามใบสั่งยา
1. วิธีปรุงยา
1.1 หลักการปรุงยา ปรุงจาก : พืช สัตว์ แร่ธาตุ จากวัตถุที่เกิดขึ้นเองตามธรรมชาติ มีกากเจือปนมาก : ใช้ตัวยาปริมาณมาก และ หลายสิ่งรวมกัน

Read more

แพทย์แผนไทย เภสัชกรรมไทย ภาคผนวก

แพทย์แผนไทย เภสัชกรรมไทย ภาคผนวก
การสับยา สมุนไพรสดหรือแห้งในส่วนต่างๆ มาทำให้มีขนาดเล็กลง
การอบยา การอบยาที่ปรุงเป็นตำรับ : อบยาอุณหภูมิ 50 – 55 °C นาน 4-6 ชั่วโมง
การบดยา นานครั้งละ 3 ชั่วโมง
การร่อนยา นำยาที่บดละเอียดแล้ว มาร่อนผ่านตะแกรง ( หรือ แร่ง ) ได้ผงยาที่ละเอียดมากขึ้นตามความต้องการ

Read more

แพทย์แผนไทย เภสัชกรรมไทย บทที่ 1 ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับเภสัชกรรม

แพทย์แผนไทย เภสัชกรรมไทย บทที่1 ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับเภสัชกรรม
1. ประวัติความเป็นมา
1.1 ประวัติแพทย์แผนโบราณ พุทธกาล มีมาก่อนพุทธกาล / เริ่มบันทึกสมัยพุทธกาล
ปู๋ชีวกโกมารภัทร ศึกษาเพราะเป็นวิชาชีพที่ไม่เบียดเบียนผู้ใด ศึกษาที่สำนักทิศาปาโมกข์ เมือง ตักศิลา

Read more

ข้อบังคับสภาการแพทย์แผนไทย ว่าด้วยจรรยาบรรณแห่งวิชาชีพการแพทย์แผนไทย พ.ศ. 2557

ข้อบังคับสภาการแพทย์แผนไทย ว่าด้วยจรรยาบรรณแห่งวิชาชีพการแพทย์แผนไทย พ.ศ. 2557
ประกาศ 13 ต.ค. 2557 ใช้ 14 ต.ค. 2557
หมวด 1 หลักทั่วไป ข้อ 3 วิชาชีพ แพทย์แผนไทย เกี่ยวกับการประกอบวิชาชีพ แพทย์แผนไทย / แพทย์แผนไทยประยุกต์ ผู้ประกอบวิชาชีพ

Read more