อาหาร ตามธาตุเจ้าเรือน

ลักษณะรูปร่าง นิสัย พฤติกรรม อาหาร ธาตุเจ้าเรือน

ตามทฤษฎีการแพทย์แผนไทยร่างกายมนุษย์ประกอบไปด้วยธาตุ ทั้งหมด 4 ธาตุ คือ ธาตุดิน ธาตุน้ำ (เสมหะ) ธาตุลม (วาตะ) และธาตุไฟ (ปิตตะ) โดยมีธาตุดินเป็นธาตุหลักหรือเป็นธาตุแห่งโครงสร้าง

แพทย์แผนไทย เภสัชกรรมไทย บทที่ 2 เภสัชวัตถุ ( 9-10 )

บทที่ 2 เภสัชวัตถุ 9. สมุนไพรในงานสาธารณสุขมูลฐาน กระทรวงสาธารณสุขได้ตระหนักถึงความสำคัญของการพัฒนาสมุนไพร โดยมีการร่างเป็นนโยบายไว้เป็นแผนพัฒนาการสาธารณสุข ฉบับที่ 6 เพื่อให้บุคลากรสาธารณสุขในระดับต่างๆ

แพทย์แผนไทย เภสัชกรรมไทย บทที่ 2 เภสัชวัตถุ ( 3-8 )

บทที่ 2 เภสัชวัตถุ 3. สัตว์วัตถุ 3.1 สัตว์บก ได้แก่ สัตว์ที่อาศัยอยู่บนบก และหากินบนบก ตัวอย่าง แมลงสาบ ใช้มูลประกอบยา สรรพคุณ แก้ลิ้นขาวเป็นฝ้า เป็นละออง แก้เม็ดยอด ในปาก แก้ฟกบวมที่มีพิษร้อน แก้กามโรค (ต้องคั่วหรือสุมก่อนปรุง) กวาง เขาแก่

แพทย์แผนไทย เภสัชกรรมไทย บทที่ 2 เภสัชวัตถุ ( 2 )

บทที่ 2 เภสัชวัตถุ 3. สัตว์วัตถุ 3.1 สัตว์บก ได้แก่ สัตว์ที่อาศัยอยู่บนบก และหากินบนบก ตัวอย่าง แมลงสาบ ใช้มูลประกอบยา สรรพคุณ แก้ลิ้นขาวเป็นฝ้า เป็นละออง แก้เม็ดยอด ในปาก แก้ฟกบวมที่มีพิษร้อน แก้กามโรค

การกดจุดปฐมเหตุ การแพทย์แผนไต้หวัน

การกดจุดปฐมเหตุ 0-1 : คำนำ 0-2 : อุปกรณ์ 01 : จุดศรีษะ 02 : จุดต้นคอ 03 : จุดหลังส่วนบน 04 : จุดหลังส่วนล่าง 05 : จุดสะบัก 06 : จุดกระเบนเหน็บ 07 : จุดสะโพก 08 : จุดข้อเท้า 09 : จุดหลังเท้า 10 : จุดข้อศอก 11 : จุดหลังมือ 12 : จุดสะบ้า 13 : ท่านอนตะแคง

ประกาศกระทรวงสาธารณะสุข เรื่อง ยาสามัญประจําบ้านแผนโบราณ พ.ศ. 2556

ประกาศกระทรวงสาธารณะสุข เรื่อง ยาสามัญประจําบ้านแผนโบราณ พ.ศ. 2556

ยาสามัญประจำบ้านแผนโบราณ 24 ขนาน
1. ยาประสะกะเพรา
วัตถุส่วนประกอบ
1 ส่วน : เกลือสินเธาว์
2 ส่วน : พริกไทย ขิง ดีปลี กระเทียม
8 ส่วน : ชะเอมเทศ มหาหิงค์

แพทย์แผนไทย เภสัชกรรมไทย บทที่ 2 เภสัชวัตถุ ( 1 )

บทที่ 2 เภสัชวัตถุ เภสัชวัตถุ คือ วัตถุธาตุนานาชนิดที่นำมาใช้ประกอบเป็นยารักษาโรค ตามคัมภีร์แพทย์กล่าวไว้ว่า “สรรพวัตถุต่างๆ ที่เกิดขึ้นมาในโลกนี้ล้วนเกิดขึ้นแต่ธาตุ ทั้ง 4 ย่อมเป็นยารักษาโรคได้ทั้งสิ้น” ตามคำกล่าวก็อาจจะเป็นได้

แพทย์แผนไทย เภสัชกรรมไทย บทที่ 3 สรรพคุณเภสัช

แพทย์แผนไทย เภสัชกรรมไทย บทที่ 3 สรรพคุณเภสัช
สรรพคุณเภสัช คือ การรู้จักสรรพคุณของวัตถุที่จะนำมาใช้เป็นยารักษาโรค
การจำแนกรสยาสามารถแบ่งออกเป็น 2 ลักษณะ
1. ยารสประธาน 3 รส
2. รสของตัวยา 4, 6, 8, 9 + จืด

แพทย์แผนไทย เภสัชกรรมไทย บทที่ 4 คณาเภสัช

แพทย์แผนไทย เภสัชกรรมไทย บทที่ 4 คณาเภสัช
คณาเภสัช : จัดหมวดหมู่ตัวยาหลายสิ่ง ตั้งแต่ 2 สิ่งขึ้นไปรวมกัน เรียกเป็นชื่อเดียวกัน เรียกเป็นคำตรงตัวยา เรียกเป็นคำศัพท์ จัดตั้งพิกัดเพื่อ สะดวกในการจดจำ สะดวกในการเข้าตำรา สะดวกในการปรุงยา จัดตั้งพิกัดอาศัย รสยาไม่ขัดกัน สรรพคุณเสมอ หรือ คล้ายคลึงกัน

แพทย์แผนไทย เภสัชกรรมไทย บทที่ 5 เภสัชกรรม

แพทย์แผนไทย เภสัชกรรมไทย บทที่ 5 เภสัชกรรม
เภสัชกรรม คือ รู้จักการปรุงยา ผสมเครื่องยาหรือตัวยาตามที่กำหนดในตำรับยา หรือตามใบสั่งยา
1. วิธีปรุงยา
1.1 หลักการปรุงยา ปรุงจาก : พืช สัตว์ แร่ธาตุ จากวัตถุที่เกิดขึ้นเองตามธรรมชาติ มีกากเจือปนมาก : ใช้ตัวยาปริมาณมาก และ หลายสิ่งรวมกัน

แพทย์แผนไทย เภสัชกรรมไทย ภาคผนวก

แพทย์แผนไทย เภสัชกรรมไทย ภาคผนวก
การสับยา สมุนไพรสดหรือแห้งในส่วนต่างๆ มาทำให้มีขนาดเล็กลง
การอบยา การอบยาที่ปรุงเป็นตำรับ : อบยาอุณหภูมิ 50 – 55 °C นาน 4-6 ชั่วโมง
การบดยา นานครั้งละ 3 ชั่วโมง
การร่อนยา นำยาที่บดละเอียดแล้ว มาร่อนผ่านตะแกรง ( หรือ แร่ง ) ได้ผงยาที่ละเอียดมากขึ้นตามความต้องการ

แพทย์แผนไทย เภสัชกรรมไทย บทที่ 1 ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับเภสัชกรรม

แพทย์แผนไทย เภสัชกรรมไทย บทที่1 ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับเภสัชกรรม
1. ประวัติความเป็นมา
1.1 ประวัติแพทย์แผนโบราณ พุทธกาล มีมาก่อนพุทธกาล / เริ่มบันทึกสมัยพุทธกาล
ปู๋ชีวกโกมารภัทร ศึกษาเพราะเป็นวิชาชีพที่ไม่เบียดเบียนผู้ใด ศึกษาที่สำนักทิศาปาโมกข์ เมือง ตักศิลา

ข้อบังคับสภาการแพทย์แผนไทย ว่าด้วยจรรยาบรรณแห่งวิชาชีพการแพทย์แผนไทย พ.ศ. 2557

ข้อบังคับสภาการแพทย์แผนไทย ว่าด้วยจรรยาบรรณแห่งวิชาชีพการแพทย์แผนไทย พ.ศ. 2557
ประกาศ 13 ต.ค. 2557 ใช้ 14 ต.ค. 2557
หมวด 1 หลักทั่วไป ข้อ 3 วิชาชีพ แพทย์แผนไทย เกี่ยวกับการประกอบวิชาชีพ แพทย์แผนไทย / แพทย์แผนไทยประยุกต์ ผู้ประกอบวิชาชีพ

ข้อบังคับสภาการแพทย์แผนไทย ว่าด้วยการเป็นสมาชิกสภาการแพทย์แผนไทย พ.ศ. 2557

ข้อบังคับสภาการแพทย์แผนไทย ว่าด้วยการเป็นสมาชิกสภาการแพทย์แผนไทย พ.ศ. 2557
ประกาศ 7 มิ.ย. 2557 บังคับใช้ 8 มิ.ย. 2557
ข้อ 4 : ต้องมีคุณสมบัติ และไม่มีลักษณะต้องห้ามตาม ม.4 ( ใช้หลักฐาน )

พรบ. ผลิตภัณฑ์สมุนไพร พ.ศ. 2562

พรบ. ผลิตภัณฑ์สมุนไพร พ.ศ. 2562
มาตรา 2 : พ้นกำหนด 60 วัน นับแต่วันประกาศในราชกิจจานุเบกษา
“ผู้อนุญาต” หมายความว่า เลขาธิการคณะกรรมการอาหารและยา หรือผู้ซึ่งเลขาธิการคณะกรรมการอาหารและยา มอบหมาย สำหรับการอนุญาตให้ประกอบกิจการผลิตหรือนำเข้า

พรบ. คุ้มครองและส่งเสริม ภูมิปัญญาการแพทย์แผนไทย พ.ศ. 2542

พรบ. ภูมิปัญญาการแพทย์แผนไทย พ.ศ. 2542
มาตรา 77 : ไม่ปฏิบัติตตามคำสั่งพนักงานเจ้าหน้าที่ จำคุก 1 เดือน ปรับ 2 พันบาท หรือทั้งจำและปรับ มาตรา 78 : จำคุกไม่เกิน 1 ปี หรือปรับไม่เกิน 20,000 บาท หรือทั้งจำทั้งปรับ ( ไม่ขออนุญาต )

พรบ สถานพยาบาล พ.ศ. 2541, 2559

พรบ. สถานพยาบาล 2541, 2559 พรบ สถานพยาบาล พ.ศ. 2541
ประกาศ​ 24 มี.ค. 2541 บังคับใช้ 25 มี.ค. 2541 ( ถัดจากวันประกาศ )

พรบ สถานพยาบาล ( ฉบับ 4 ) พ.ศ. 2559
ประกาศ​ 20 ธ.ค. 2559 บังคับใช้ 21 มี.ค. 2559 ( ถัดจากวันประกาศ )

พรบ วิชาชีพ การแพทย์แผนไทย 2556

พรบ วิชาชีพ การแพทย์แผนไทย พศ. 2556

พรบ วิชาชีพ การแพทย์แผนไทย พศ. 2556
ภูมิพลอดุลยเดช ร.9 ให้ไว้ ณ วันที่ 9 มกราคม พ.ศ. 2556
มาตรา 1 : วันประกาศ 1 กพ 2556
มาตรา 2 : วันบังคับใช้ 2 กพ 2556 ( วันถัดจากวันประกาศ )

วิธีทำ ข้าวหมัก สาโท

วิธีทำ ข้าวหมัก สาโท วัตถุดิบ / ส่วนผสม / อัตราส่วน ข้าวเหนียวเขี้ยวงูเก่า 2 กก แป้งสาโท 1 ลูก น้ำตาล 10 กรัม น้ำเปล่า 6 ลิตร ( น้ำที่ล้างข้าว และแช่ข้าว ไม่ใช้น้ำประปา หรือน้ำบาดาล ใช้น้ำต้มสุกที่เย็นแล้ว หรือน้ำดื่มขวด เพราะคลอรีนในน้ำประปาจะทำให้เชื้อตาย )

วิธีทำ ผักกาดเขียวดอง น้ำซาวข้าว

วิธีทำ ผักกาดเขียวดอง น้ำซาวข้าว วัตถุดิบ / ส่วนผสม / อัตราส่วน ผักกาดเขียว 5 กก น้ำตาลทรายแดง 200 กรัม สำหรับแช่ เกลือผง หรือ เกลือเม็ด 1 กก ( แบ่งไว้ผสมน้ำซาวข้าว 100 กรัม )

ประเภทของป่าไม้ (Type Of Forest)

ป่าไม้ในประเทศไทย
ประเทศไทยเราสามารถแบ่งประเภทของป่าออกได้เป็น 2 ประเภทได้แก่

1.ป่าไม่ผลัดใบ (Evergreen Forest) ประกอบไปด้วย ป่าดงดิบชื้น (Tropical Rain Forest) ป่าดิบแล้ง (Dry Evergreen Forest) ป่าดิบเขา (Hill Evergreen Forest) ป่าสน (Coniferous Forest) ป่าพรุ (Swamp Forest) ป่าชายเลน (Mangrove Swamp Forest) ป่าชายหาด (Beach Forest)

มะคำดีควาย หรือ ประคำดีควาย (Sapindus rarak DC.)

ผลแก่ ดับพิษทั้งปวง ดับพิษร้อนภายใน แก้พิษตานซาง แก้ไข้ แก้กาฬ แก้ไข้เซื่องซึม แก้หอบหืด แก้ไข้หวัดในเด็ก แก้ร้อนใน แก้ฝี แก้เลือดและเสลด แก้บวม แก้โรคผิวหนัง

ภูพานแฮ (Bactris gasipaes)

เป็นพันธุ์ปาล์มที่มีถิ่นกำเนิดในป่าเขตร้อนของอเมริกากลางและอเมริกาใต้ มีการแพร่กระจายอย่างดีในภูมิภาคเหล่านี้ ซึ่งมักได้รับการปลูกฝังโดยเกษตรกรรายย่อยในระบบ วนเกษตรหรือในการปลูกแบบเชิงเดี่ยว