เกษตรทฤษฎีใหม่ : new theory agriculture
ป่าไม้ในประเทศไทย
ประเทศไทยเราสามารถแบ่งประเภทของป่าออกได้เป็น 2 ประเภทได้แก่
1.ป่าไม่ผลัดใบ (Evergreen Forest) ประกอบไปด้วย ป่าดงดิบชื้น (Tropical Rain Forest) ป่าดิบแล้ง (Dry Evergreen Forest) ป่าดิบเขา (Hill Evergreen Forest) ป่าสน (Coniferous Forest) ป่าพรุ (Swamp Forest) ป่าชายเลน (Mangrove Swamp Forest) ป่าชายหาด (Beach Forest)
ผลแก่ ดับพิษทั้งปวง ดับพิษร้อนภายใน แก้พิษตานซาง แก้ไข้ แก้กาฬ แก้ไข้เซื่องซึม แก้หอบหืด แก้ไข้หวัดในเด็ก แก้ร้อนใน แก้ฝี แก้เลือดและเสลด แก้บวม แก้โรคผิวหนัง
เป็นพันธุ์ปาล์มที่มีถิ่นกำเนิดในป่าเขตร้อนของอเมริกากลางและอเมริกาใต้ มีการแพร่กระจายอย่างดีในภูมิภาคเหล่านี้ ซึ่งมักได้รับการปลูกฝังโดยเกษตรกรรายย่อยในระบบ วนเกษตรหรือในการปลูกแบบเชิงเดี่ยว
ใบ เป็นใบประกอบ ออกอยู่ตามส่วนของลำต้น ประกอบด้วยก้านทาง ( rechis ) มีขนาดใหญ่และยาว และมีใบย่อย (leaflet) บนก้านทางประมาณ 200 – 250 ใบ
ใบ ใบเดี่ยว เรียงเวียนสลับหรือเป็นกลุ่ม รูปแถบหรือรูปหอกเรียว กว้าง 1-2 ซม. ยาว 7-15 ซม. ปลายใบและโคนใบแหลม ขอบใบเรียบ โค้งเป็นรูปดาบ
ลำต้น มีลำต้นเดียว ไม่แตกแขนง มีรอยแผลจากการหลุดร่วงของใบตลอดลำต้น สามารถคำนวณอายุของต้นมะพร้าวได้จากรอยแผลนี้ คือ ในปีหนึ่งมะพร้าวจะสร้างใบประมาณ 12- 14 ใบ
ปลูกเป็นไม้ประธานในสวน ริมทางเดิน ในสวนสาธารณะ หรือปลูกลงกระถางก็ได้ ทนทานต่อสภาพแวดล้อมต่างๆ ได้ดี แต่ถ้าปลูกในที่แห้งแล้ง ใบจะร่วงมาก
ข้อคำนึงถึงเบื้องต้นในกรณีที่พื้นที่เตรียมการปลูกเป็นดินเหนียวจัดควรเอาน้ำรดให้ชุ่มเสียก่อนเพื่อให้ขุดง่ายเบาแรงขึ้นดินที่ขุดขึ้นควรใช้ปูนขาวหรือสารเคมีปรับปรุงดินบางชนิด
ไม้ต้น สูง 10-20 เมตร เรือนยอดแผ่กว้างกิ่งลู่ลง ผลัดใบ เปลือกสีน้ำตาลอ่อน เป็นไม้ยืนต้นขนาดกลาง มีเรือน ยอดแผ่กิ่งก้านสาขาออกไปกว้าง ออกดอกราวๆ เดือนกุมภาพันธ์ถึงมีนาคม แต่ดอกจะอยู่ไม่ทนนัก
ต้น ลำต้นเทียมสูงไม่เกิน 2.5 เมตร เส้นผ่านศูนย์กลางลำต้นเทียม 15 ซม. กาบลำต้นเทียมด้านนอก มีประดำหนา ที่โคนมีสีชมพูอมแดง ด้านในสีชมพูอมแดง ใบ ก้านใบตั้ง มีร่องกว้าง มีปีกสีชมพู เส้นกลางใบสีชมพูอมแดง ก้านช่อดอกสีขน
ต้น ลำต้นสูง 3-3.50 เมตร เส้นผ่าศูนย์กลาง 15 ซ.ม. กาบลำต้นด้านนอกสีเขียว ตรงโคนสีชมพู ไม่มีไขมาก กาบลำต้นด้านในสีชมพู
ลำต้นใหญ่พอสมควร สูงประมาณ 2.5-3 เมตร ใบ ก้านใบสีเขียว มีครีบก้านใบสีเขียว ลักษณะคล้ายกล้วยน้ำว้า โคนใบมน ดอก หรือปลี ลักษณะของใบประดับยาว ปลายใบประดับแหลมม้วนงอขึ้น ใบประดับด้านนอกสีม่วงแดง ดอกมีก้านดอกสั้น
มีลักษณะทรงพุ่มโปร่ง ลำต้นตั้งตรงมี สูงตั้งแต่ 10 เมตรขึ้นไป มีเส้นผ่านศูนย์กลาง 12-18 เซนติเมตร ลำต้นมีสีเขียว มีนวลแป้งสีขาวปกคลุม
ลำอ่อนแตกมาจากตาของเหง้าใต้ดินเพียงบางตา ตรงส่วนของปลายเหง้าที่เจริญออกเป็นหน่อใหญ่ เหง้ามีระยะยาว แตกออกเป็นลำใหญ่ในปีต่อไปเรื่อยๆ เหง้าและลำจึงไม่อยู่ร่วมกัน มีทั่วทุกภาคแต่ในภาคใต้จะมีน้อยมาก
จำปี เป็นไม้ยืนต้นขนาดกลาง สูงประมาณ 10-20 เมตร ไม่ผลัดใบ ลำต้นสีน้ำตาลแตกเป็นร่องถี่ กิ่งเปราะ หักง่าย เรือนยอดรูปกรวยทึบ ใบจำปี มีลักษณะเป็นใบเดี่ยว ใบสีเขียว โคนใบมน ปลายใบแหลม
ใบ เป็นใบเดี่ยว ออกสลับกันตามข้อของลำต้นและกิ่งแขนง ลักษณะใบรูปไข่ โคนใบใหญ่ ปลายใบแหลม ขอบใบเรียบ ลักษณะคล้ายใบพลู เนื้อใบแข็ง
ต้นยี่หร่าเป็นไม้พุ่มเตี้ย มีความสูงประมาณ 50-80 เซนติเมตร ลำต้นมีสีน้ำตาลแก่ แตกกิ่งก้านสาขาขนาดเล็ก กิ่งก้านไม่ใหญ่ ในช่วงปีแรกและปีที่สองจึงออกดอกออกผล ขยายพันธุ์ด้วยวิธีการเพาะเมล็ดและการปักชำกิ่ง
ผักหวานป่า เป็นไม้ยืนต้นขนาดกลาง มีความสูง 5-15 เมตร เนื้อไม้แข็ง เปลือกของลำต้นเมื่ออายุน้อยผิวเปลือกเรียบ สีเทาอมเขียว และเมื่ออายุมากขึ้นเปลือกแตกเป็นร่องรูปสี่เหลี่ยม สีเทาอ่อนอมน้ำตาล
ใบ ผักเหลียง เป็นพืชใบเลี้ยงคู่ มีลักษณะใบคล้ายใบยางพารา ใบแตกออกที่ปลายกิ่งแขนง แตกออกเป็นใบเดี่ยวตรงข้ามกันเป็นคู่ๆ ใบมีลักษณะรี มีก้านใบยาวประมาณ 1 – 2 เซนติเมตร โคนใบสอบ ปลายใบเรียวแหลม
ลำต้น ผักเหลียง เป็นไม้ยืนต้นขนาดเล็ก มีลักษณะเป็นทรงพุ่มเตี้ยๆ ลำต้นมีขนาด 10-30 มิลลิเมตร สูงประมาณ 2-3 เมตร ลำต้น และกิ่งมีลักษณะเป็นข้อๆ
ต้นชะพลู มีลักษณะกลมๆ จะมีก้านใบยาวโดยรอบๆ จะมีสีเขียวนวล ใบชะพลู ใบมีลักษณะคล้ายรูปหัวใจ รูปทรงคล้ายกับใบพลู แต่มีขนาดใบเล็กกว่า ใบแข็งๆ ก้านใบยาว
ลักษณะของลำต้น เป็นไม้พุ่มขนาดเล็กถึงขนาดกลาง เปลือกไม้เป็นสีน้ำตาลแดงไปจนถึงน้ำตาลเข้มผสมดำ มีรอยกระและรูระบายอากาศกระจายตัวอยู่ทั่วไปตามกิ่งก้าน
ลำต้น เส้นผ่านศูนย์กลาง 3.25 นิ้ว ใบ ใบใหญ่สีเขียวเข้มเป็นมันเงา ความสูงเมื่อเจริญเติบโตเต็มที่ สูงได้ถึง 10 เมตร ความกว้างทรงพุ่มเมื่อโตเต็มที่ 4-6 เมตร
ต้น เป็นไม้ยืนต้นขนาดเล็ก สูง 5-7 เมตร ขนาดทรงพุ่ม 3-5 เมตร ไม่ผลัดใบ ทรงพุ่มกลม หรือรูปไข่ เปลือกต้นสีน้ำตาลปนเทา มีรอยด่าง เป็นวงสีขาวอมเทา แตกเป็นร่องตื้น ๆ ตามแนวยาวมีปุ่มปมเล็ก ๆ ซึ่งเป็นจุดกำเนิดตาดอก