วิธีการปลูกไม้ป่าและการดูแลหลังการปลูก
ข้อคำนึงถึงเบื้องต้นในกรณีที่พื้นที่เตรียมการปลูกเป็นดินเหนียวจัดควรเอาน้ำรดให้ชุ่มเสียก่อนเพื่อให้ขุดง่ายเบาแรงขึ้นดินที่ขุดขึ้นควรใช้ปูนขาวหรือสารเคมีปรับปรุงดินบางชนิด
ข้อคำนึงถึงเบื้องต้นในกรณีที่พื้นที่เตรียมการปลูกเป็นดินเหนียวจัดควรเอาน้ำรดให้ชุ่มเสียก่อนเพื่อให้ขุดง่ายเบาแรงขึ้นดินที่ขุดขึ้นควรใช้ปูนขาวหรือสารเคมีปรับปรุงดินบางชนิด
ไม้ต้น สูง 10-20 เมตร เรือนยอดแผ่กว้างกิ่งลู่ลง ผลัดใบ เปลือกสีน้ำตาลอ่อน เป็นไม้ยืนต้นขนาดกลาง มีเรือน ยอดแผ่กิ่งก้านสาขาออกไปกว้าง ออกดอกราวๆ เดือนกุมภาพันธ์ถึงมีนาคม แต่ดอกจะอยู่ไม่ทนนัก
ไม้ต้น ขนาดกลางถึงขนาดใหญ่ ผลัดใบ สูง 10 – 25 เมตร เรือนยอดรูปร่มแผ่กว้าง
เปลือก สีเทาเข้มหรือน้ำตาลอม เหลืองขรุขระ และแตกเป็นร่องตามยาว
ลำต้น ไม้ต้นขนาดใหญ่ ผลัดใบระยะสั้น ลำต้นเปลาตรง มีพูพอนต่ำๆเปลือกสีน้ำตาลอมเทา แตกเป็นร่องเป็นสะเก็ดหนา
ใบ เดี่ยวเรียงสลับ ใบรูปรี รูปไข่กลับถึงรูปขอบขนาน กว้าง 6-8 ซม. ยาว 6-16 ซม. ปลายใบมนหรือแหลมเป็นติ่งสั้นๆ
ต้นมะริดที่โตเต็มที่จะสูงได้ถึง 20 เมตร เนื้อไม้เหนียวมาก แต่มีลวดลายสวยมาก เปลือกไม้เป็นสีน้ำตาลปนดำ แต่ส่วนของเนื้อด้านในจะดำผสมชมพู ผิวหน้าใบมีความมันเงา เป็นสีเขียวอมเหลืองเล็กน้อย
ใบ เป็นใบเดี่ยว ออกตรงกันข้าม เรียงเวียนสลับ รูปรีแกมรูปไข่หรือรูปไข่แกมรูปขอบขนาน เนื้อใบค่อนข้างหนา ผิวใบเกลี้ยง ท้องใบมีนวลขาวอมเทา ใบแก่อายุมากมีสีแดง เส้นใบหลัก 1 เส้น เส้นใบข้างโค้ง 3-7 คู่ นูนขึ้นทั้งสองด้าน ปลายใบแหลม
เนื้อไม้สีน้ำตาลอ่อน แก่นสีน้ำตาลเข้ม เสี้ยนตรง เนื้อละเอียด เลื่อย ไสกบ ตบแต่งง่าย มีกลิ่นหอมเฉพาะตัว แม้จะเป็นไม้สด
มีต้นกำเนิดที่เกาะไหหลำ สาธารณรัฐจีน เป็นไม้จักรพรรดิ์ในอดีตของประวัติศาสตร์จีน ทางจีนเรียก ไม้ฮวงหัวลี่ เป็นไม้ที่ไม่ติดอนุสัญญาว่าด้วยการค้าระหว่างประเทศ หรือเรียกโดยย่อว่า ไซเตส (Cites) สามารถนำเข้าปลูกได้ในประเทศไทยและตัดส่งออกต่างประเทศได้ไม่ติดข้อกฎหมาย
ไม้ต้นขนาดใหญ่ ผลัดใบ ทรงพุ่มกลมหรือทรงกระบอก แน่นทึบ กิ่งห้อยย้อย เปลือกต้นสีเทาเข้มเกือบดำ ผิวขรุขระ มีรอยแตกเป็นทางยาว ใบเดี่ยว เรียงตรงข้าม รูปไข่แกมรูปขอบขนาน กว้าง 6-10 ซม. ยาว 16-24 ซม. ปลายใบเรียวแหลมเป็นติ่งโคนใบมน แผ่นใบค่อนข้างหนา และเหนียว สีเขียวเข้ม
ลำต้น เป็นเปลาตรงเปลือกเรียบหรือแตกเป็นร่องเล็กๆ สีเทา โคนเป็นพูพอนต่ำๆ เปลือกหนาประมาณ 0.3-1.7 เซนติเมตร เนื้อไม้มีสีเหลืองทองถึงน้ำตาลแก่ เสี้ยนตรง เนื้อหยาบ ใบ เป็นใบเดี่ยวใหญ่มาก ออกตรงข้ามกันเป็นคู่ ปลายใบแหลมโคนมน ยาว 25-30 เซนติเมตร
พบขึ้นอยู่ในประเทศพม่า, ลาว และไทยกระจายทั่วไปในป่าเบญจพรรณ ที่มีสภาพแห้งแล้ง มักพบเกิดอยู่ร่วมกับไม้สักและไม้ไผ่และบ่อยครั้งก็พบในป่าเต็งรังที่เป็นดินลูกรัง ที่พบในประเทศไทย มีขึ้นอยู่ทุกภาค ยกเว้นภาคใต้
มีถิ่นกำเนิดในแถบเอเชียเขตร้อน และในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ และมีการกระจายพันธุ์ไปใน อินเดีย ปากีสถาน ศรีลังกา ทิเบต ภูฐาน พม่า จีน ตลอดแหลมมลายู เกาะสุมาตรา เกาะบอร์เนียวและฟิลิปปินส์
ไม้ต้น ขนาดใหญ่ ไม่ผลัดใบ สูง 20 – 40 เมตร ลำต้นเปลาตรง เปลือก หนาสีน้ำตาล มีชันสีเหลืองเกาะตามเปลือก ทั่วไป ต้นเล็กเปลือกจะเรียบ แต่เมื่อเป็นต้นใหญ่เปลือกจะแตกเป็นสะเก็ด เรือนยอดเป็นพุ่มทึบกลมหรือรูปเจดีย์ต่ำ ๆ ใบ เป็นใบเดี่ยวออกสลับ รูปไข่แกมรูปหอกหรือรูปดาบ ท้องใบจะมีตุ่มคอมเมเซียเกลี้ยง ๆ อยู่ตามง่ามแขนงใบ
ถิ่นกำเนิดในอินโดแปซิฟิก มีการกระจายพันธุ์จากประเทศแทนซาเนียและประเทศมาดากัสการ์ไปทางตะวันออกผ่านประเทศอินเดียและรัฐควีนส์แลนด์, ประเทศออสเตรเลียถึงหมู่เกาะแปซิฟิกของประเทศซามัว
ไม้ต้น ขนาดกลางถึงขนาดใหญ่ นอกสีน้ำตาลดำ หนา แตกสะเก็ด เปลือกในสีน้ำตาล มีน้ำเลี้ยงสีแดง เนื้อไม้แข็งสีแดงอมเหลือง มีลวดลายสวยงาม ใบประกอบขนนกชั้นเดียว ปลายใบคี่ เรียงสลับ ใบย่อยรูปไข่หรือรูปขอบขนาน กว้าง 2.5 – 5 เซนติเมตร ยาว 5 – 15 เซนติเมตร
เปลือกของลำต้น สามารถนำมาต้มดื่ม ใช้สำหรับเป็นยาถ่ายพยาธิยา รักษาโรคริดสีดวง ยาแก้อาการท้องเสีย และรักษาโรคบิดนอกจากนั้นยังสามารถรักษาโรคผิวหนัง หรือใช้ทาเป็นยารักษาแผลพุพองต่างๆ ได้ เมล็ดของมะค่าโมงสามารถนำมาต้มดื่มหรือนำเนื้อเมล็ดดิบมาหั่นเป็นฝอยต้มดื่ม ช่วยบรรเทาอาการอาเจียนได้
ไม้ต้นขนาดกลางถึงใหญ่ สูงถึง 25 เมตร ผลัดใบ เรือนยอดรูปทรงกลมหรือทรงกระบอก ลำต้นค่อนข้างเปลาตรง หรือเป็นปุ่มปม เปลือกสีเทาอมน้ำตาลหรือสีเทาปนเขียวเรียบหรือแตกล่อนเป็นแผ่นบางๆ เนื้อไม้สีน้ำตาลแดง กิ่งก้านและยอดอ่อนมีขนละเอียดสีเหลือง
ต้นพะยูง จัดเป็นไม้ยืนต้นขนาดกลางถึงขนาดใหญ่ ผลัดใบช่วงสั้น ๆ มีลักษณะคล้ายกับต้นประดู่ โดยมีความสูงของต้นได้ถึง 25 -30 เมตร เมื่อโตเต็มที่ลำต้นจะมีลักษณะเปลาตรง มีเรือนยอดเป็นรูปทรงกลมหรือรูปไข่ทึบ
ต้นประดู่ เป็นพรรณไม้ที่มีถิ่นกำเนิดในประเทศมาเลเซีย และอยู่ในแถบอันดามัน มัทราช เบงกอล ส่วนอีกข้อมูลระบุว่า มีถิ่นกำเนิดในประเทศอินเดีย ลำต้นสูง 15 – 30 เมตร หุ้มด้วยเปลือกหนาสีน้ำตาลซึ่งแตกสะเก็ดเป็นร่อง ลึก มีนํ้ายางมาก เรือนยอดเป็นพุ่มกลมทึบ
ไม้ยืนต้นผลัดใบ สูง 15-25 เมตร ลำต้นตรง เปลือกสีน้ำตาลแดง ใบประกอบแบบขนนก เรียงสลับ ใบย่อยรูปรีเบี้ยว โค้งเล็กน้อย มี 3-6 คู่ กว้าง 2.5-6 เซนติเมตร ยาว 6-15 เซนติเมตร ปลายแหลม โคนแหลม ใบค่อนข้างหนา แผ่นใบด้านบนสีเขียวเข้มเป็นมัน ใต้ใบสีเขียวอ่อน
ชื่อ – ชนิด พันธุ์ ยางนา หรือ ชันนา, ยางตัง, ทองหลัก, ยาง, ยางแม่น้ำ, ยางขาว, ยางควาย ชื่อวิทยาศาสตร์ Dipterocarpus Alatus ประวัติ ต้นยางนา พบได้ทั่วไปในประเทศไทย ซึ่งยืนยันได้จากชื่อหมู่บ้าน ตำบล อำเภอ ที่มีคำว่า “ยาง” มีอยู่ในทุกภาคของประเทศ
เราใช้คุกกี้เพื่อพัฒนาประสิทธิภาพ และประสบการณ์ที่ดีในการใช้เว็บไซต์ของคุณ คุณสามารถศึกษารายละเอียดได้ที่ นโยบายความเป็นส่วนตัว และสามารถจัดการความเป็นส่วนตัวเองได้ของคุณได้เองโดยคลิกที่ ตั้งค่า