ประเภทของป่าไม้ (Type Of Forest)

ป่าไม้ในประเทศไทย
ประเทศไทยเราสามารถแบ่งประเภทของป่าออกได้เป็น 2 ประเภทได้แก่

1.ป่าไม่ผลัดใบ (Evergreen Forest) ประกอบไปด้วย ป่าดงดิบชื้น (Tropical Rain Forest) ป่าดิบแล้ง (Dry Evergreen Forest) ป่าดิบเขา (Hill Evergreen Forest) ป่าสน (Coniferous Forest) ป่าพรุ (Swamp Forest) ป่าชายเลน (Mangrove Swamp Forest) ป่าชายหาด (Beach Forest)

มะคำดีควาย หรือ ประคำดีควาย (Sapindus rarak DC.)

ผลแก่ ดับพิษทั้งปวง ดับพิษร้อนภายใน แก้พิษตานซาง แก้ไข้ แก้กาฬ แก้ไข้เซื่องซึม แก้หอบหืด แก้ไข้หวัดในเด็ก แก้ร้อนใน แก้ฝี แก้เลือดและเสลด แก้บวม แก้โรคผิวหนัง

พญาไม้ (Podocarpus neriifolius D.Don)

ใบ ใบเดี่ยว เรียงเวียนสลับหรือเป็นกลุ่ม รูปแถบหรือรูปหอกเรียว กว้าง 1-2 ซม. ยาว 7-15 ซม. ปลายใบและโคนใบแหลม ขอบใบเรียบ โค้งเป็นรูปดาบ

มะพร้าว หรือ มะพร้างแกง (Cocos Nufiera ( L.))

ลำต้น มีลำต้นเดียว ไม่แตกแขนง มีรอยแผลจากการหลุดร่วงของใบตลอดลำต้น สามารถคำนวณอายุของต้นมะพร้าวได้จากรอยแผลนี้ คือ ในปีหนึ่งมะพร้าวจะสร้างใบประมาณ 12- 14 ใบ

เทพทาโร (Cinnamomum porrectum (Roxb.) Kostern)

ใบ เป็นใบเดี่ยว ออกตรงกันข้าม เรียงเวียนสลับ รูปรีแกมรูปไข่หรือรูปไข่แกมรูปขอบขนาน เนื้อใบค่อนข้างหนา ผิวใบเกลี้ยง ท้องใบมีนวลขาวอมเทา ใบแก่อายุมากมีสีแดง เส้นใบหลัก 1 เส้น เส้นใบข้างโค้ง 3-7 คู่ นูนขึ้นทั้งสองด้าน ปลายใบแหลม

ยางเหียง หรือ ตาด, ซาด, เห่ง, คร้าด, เหียงพลวง เหียงโยน, สะแบง (Dipterocarpus obtusifolius Teijsm. ex Miq)

ต้นเหียง จัดเป็นไม้ยืนต้นขนาดกลางผลัดใบ มีความสูงของต้นประมาณ 8-28 เมตร ลำต้นเปลาตรง แตกกิ่งก้านน้อย เรือนยอดเล็ก

ประ หรือ กระ (Pterocarpus Macrocarpus)

เป็นต้นไม้ขนาดใหญ่ สูง 20-40 เมตร เปลือกมียางเหนียว
ใบเดี่ยว เรียงสลับกัน ใบเป็นรูปรี ฐานใบมน กิ่งแหลม ปลายใบแหลม ขอบใบหยักเป็นคลื่นเล็กน้อย เมื่อแตกใบอ่อนจะมีสีชมพูแดง

วิธีสกัดน้ำมันกัญชา ตำรับอาจารย์ เดชา ศิริภัทร

อุปกรณ์ เตาไฟฟ้า หรือ เตาแก๊ส หม้อสแตนเลส ไม้พาย หรือทัพพี สำหรับใช้คน เครื่องวัดอุณหภูมิความร้อน ผ้าขาวบางสำหรับกรอง กรวยสำหรับกรอก ขวดสำหรับบรรจุ วัตถุดิบ ดอกกัญชาแห้ง

คีเปล (Steleshocarpus Burahol)

ลำต้นมีความสูงตั้งแต่ประมาณ 10-21 เมตร มีขนาดเส้นผ่านศูนย์กลางถึง 40 ซม. เปลือกลำต้นเป็นสีน้ำตาล เรียบ แตกกิ่งก้านสาขามากมาย ใบมีลักษณะเป็นรูปรี โคนใบสอบ ปลายใบแหลม ขอบใบเรียบ แผ่นใบเรียบมีสีเขียวเป็นมัน

กะเพราเขียว หรือ กะเพราขน,อีตู่ไทย (Ocimum Tenuiflorum L.)

เป็นพืชพื้นเมืองของเขตร้อนในถิ่นโลกเก่า คือบริเวณเขตร้อนของทวีปเอเชียและแอฟริกาแต่พบมากในแถบเอเชียใต้และเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ เป็นไม้ล้มลุกมีกิ่งก้านและขนปกคลุมมาก ใบเดี่ยวเรียงตรงข้ามสีเขียวกันเป็นคู่ๆ รูปรี ปลายใบแปลม หรือมน ขอบใบหยักแบบพันเลื่อย ดอกออกเป็นช่อที่ปลายกิ่ง ดอกติดรอบแกนช่อเป็นระยะๆ

ฝาง หรือ หนามโค้ง,ฝางแดง, ขวาง, ฝางเสน, ฝางส้ม,ง้าย (Caesalpinia Sappan L.)

เป็นพืชที่มีถิ่นกำเนิดในเขตร้อนของเอเชีย โดยสามารถพบได้ตามประเทศต่างๆ ที่อยู่ในเขตร้อนดังกล่าว เช่น อินเดีย พม่า ไทย ลาว กัมพูชา ศรีลังกา บังคลาเทศ เวียดนาม รวมถึงทางตอนใต้ของจีน สำหรับในประเทศไทยนั้น สามารถพบได้บริเวณป่าดิบแล้ง ป่าเบญจพรรณ ป่าเต็งรัง

มะกล่ำตาแดง หรือ มะกล่ำตาหนู ,กล่ำตาไก่, กล่ำเครือ, มะกล่ำแดง, มะกล่ำเครือ, มะแค้ก, มะแค๊ก (Abrus precatorius L.)

เป็นไม้เถาเลื้อยอายุหลายปี สูงถึง 5 เมตร เถาเนื้ออ่อน สีเขียว ขนาดเล็ก โคนเถาช่วงล่างจะแข็งและมีขนาดใหญ่ ใบประกอบแบบขนนกปลายคู่ เรียงสลับ ก้านหนึ่งจะมีใบย่อย 8-20 คู่ ใบย่อยรูปรีแกมขอบขนาน  โคนใบมน ปลายใบมน ขอบใบเรียบขนาน หน้าใบเรียบ

เหลืองปรีดียาธร หรือ ตาเบเหลือง, ตะเบเหลือง, ตาเบบูย่าเหลือง, เหลืองสิรินธร ( Tabebuia argentea Britton)

ถิ่นกำเนิด ปารากวัย อาร์เจนตินา และบราซิล  ลำต้น มีเปลือกสีน้ำตาล แตกเป็นร่อง ใบประกอบรูปนิ้วมือ มีใบย่อย 5-7 ใบ รูปรีแกมรูปขอบขนาน ปลายใบมนหรือแหลม โคนใบมน ใบเหลือบสีเงินทั้งสองด้าน

มาตรฐาน GMP : Good Manufacturing Practice โรงงานผลิตอาหาร

ผู้ประกอบการโรงงานอาหารมีกฎ ระเบียบ และมาตรฐานหลายอย่างที่ต้องศึกษาและทำความเข้าใจ เพื่อรังสรรค์ผลผลิตคุณภาพส่งออกไปถึงมือผู้บริโภค ซึ่งตามกฎหมายแล้วผู้บริโภคนั้นได้รับความคุ้มครองขั้นพื้นฐานโดยผู้บริโภคต้องได้รับประทานอาหารที่สะอาด ปลอดภัย ไม่มีสิ่งเจือปน หรือไม่มีสารพิษที่เป็นอันตราย…

สิ่งบ่งชี้ทางภูมิศาสตร์ ( Geographical Indications หรือ GI ) เป็นทรัพย์สินทางปัญญาประเภทหนึ่ง

สิ่งบ่งชี้ทางภูมิศาสตร์ ( Geographical Indications หรือ GI ) เป็นทรัพย์สินทางปัญญาประเภทหนึ่ง ซึ่งจะเกิดขึ้นได้ก็ต่อเมื่อมีความเชื่อมโยง (Links) ระหว่างปัจจัยสำคัญสองประการ คือ ธรรมชาติและมนุษย์ กล่าวคือ ชุมชนได้อาศัยลักษณะเฉพาะที่มีอยู่ในแหล่งภูมิศาสตร์ตามธรรมชาติ…

การปฏิบัติทางการเกษตรที่ดี ( Good Agricultural Practices : GAP ) : สำนักมาตรฐานสินค้าเกษตรและอาหารแห่งชาติ ( มกอช. )

GAP – พืช การปฏิบัติทางการเกษตรที่ดี (Good Agricultural Practices : GAP) ประเทศไทยเป็นผู้ผลิต ผู้ส่งออกสินค้าเกษตรและอาหารที่สำคัญ แต่ที่ผ่านมาผลผลิตสินค้าเกษตรและอาหารยังไม่ปลอดภัยต่อผู้บริโภคเท่าที่ควรเนื่องจากมีสารเคมีตกค้าง…

การวัดค่าต่างๆ ของดิน และธาตุอาหารในดินสำหรับพืช

ค่า pH กับ ธาตุอาหารสำหรับพืช
ความเป็นประโยชน์ของธาตุอาหารต่างๆในดิน ที่พืชจะดูดซึมเอาไปใช้ได้ง่าย มากน้อยแค่ไหน ขึ้นอยู่กับสภาพหรือระดับ pH ของดินเป็นอย่างมาก ธาตุอาหารจะคงสภาพที่เป็นประโยชน์ต่อพืชได้ง่าย และมีปริมาณมาก ที่ pH ช่วงหนึ่ง ถ้าดินมี pH ที่ต่ำหรือสูงกว่าช่วงนั้นๆ…

ชั้นของดิน

ดินทุกชนิดประกอบไปด้วยหน้าดินเป็นชั้น ๆ แต่ละชั้นจะแตกต่างกันที่ สี ผิวพื้น โครงสร้าง ความพรุนและปฏิกิริยาของดิน ชั้นดินสมบูรณ์มี 5 ชั้น คือ ชั้น O ชั้น A ชั้น B ชั้น C และชั้น R ดังรูป ชั้นของดิน ชั้นของอินทรีย์วัตถุ คือชั้น O จะอยู่ตอนบนสุดของรูปด้านข้างของดิน…

วิธีการบำรุงดิน ด้วยการห่มดิน แห้งชาม น้ำชาม

” ถึงแม้ว่าดินจะมีแค่หินและทราย แต่หินและทรายมีธาตุอาหารสำหรับพืชพอสมควร เพียงแต่ไม่มี จุลินทรีย์ มาช่วยกันทำให้ดินมีจุลินทรีย์ โดยการอย่าปอกเปลือกเปลือยดินให้ห่มดิน ” พระราชดำรัส ในหลวง รัชกาลที่ 9 ณ ศูนย์ศึกษาพัฒนา ห้วยทราย อ.ชะอำ จ.ประจวบคีรีขันธ์…