ไทรย้อยใบแหลม (Ficus benjamina)
ปลูกเป็นไม้ประธานในสวน ริมทางเดิน ในสวนสาธารณะ หรือปลูกลงกระถางก็ได้ ทนทานต่อสภาพแวดล้อมต่างๆ ได้ดี แต่ถ้าปลูกในที่แห้งแล้ง ใบจะร่วงมาก
ปลูกเป็นไม้ประธานในสวน ริมทางเดิน ในสวนสาธารณะ หรือปลูกลงกระถางก็ได้ ทนทานต่อสภาพแวดล้อมต่างๆ ได้ดี แต่ถ้าปลูกในที่แห้งแล้ง ใบจะร่วงมาก
ไม้ต้น สูง 10-20 เมตร เรือนยอดแผ่กว้างกิ่งลู่ลง ผลัดใบ เปลือกสีน้ำตาลอ่อน เป็นไม้ยืนต้นขนาดกลาง มีเรือน ยอดแผ่กิ่งก้านสาขาออกไปกว้าง ออกดอกราวๆ เดือนกุมภาพันธ์ถึงมีนาคม แต่ดอกจะอยู่ไม่ทนนัก
ไม้ต้น ขนาดกลางถึงขนาดใหญ่ ผลัดใบ สูง 10 – 25 เมตร เรือนยอดรูปร่มแผ่กว้าง
เปลือก สีเทาเข้มหรือน้ำตาลอม เหลืองขรุขระ และแตกเป็นร่องตามยาว
ลำต้น ไม้ต้นขนาดใหญ่ ผลัดใบระยะสั้น ลำต้นเปลาตรง มีพูพอนต่ำๆเปลือกสีน้ำตาลอมเทา แตกเป็นร่องเป็นสะเก็ดหนา
ใบ เดี่ยวเรียงสลับ ใบรูปรี รูปไข่กลับถึงรูปขอบขนาน กว้าง 6-8 ซม. ยาว 6-16 ซม. ปลายใบมนหรือแหลมเป็นติ่งสั้นๆ
ต้น ไม้ต้นสูงได้ถึง 35 เมตร โตเร็ว ลำต้นเปลาตรง เรือนยอดเป็นพุ่มกลมทึบ เปลือกหนา สีเทาปนดำ แตกเป็นร่องลึก ใบ เป็นใบประกอบแบบขนนก ช่อใบยาว 25-70 เซนติเมตร ใบรูปขอบขนานแกมรูปหอก
ต้นมะริดที่โตเต็มที่จะสูงได้ถึง 20 เมตร เนื้อไม้เหนียวมาก แต่มีลวดลายสวยมาก เปลือกไม้เป็นสีน้ำตาลปนดำ แต่ส่วนของเนื้อด้านในจะดำผสมชมพู ผิวหน้าใบมีความมันเงา เป็นสีเขียวอมเหลืองเล็กน้อย
ใบ เป็นใบเดี่ยว ออกตรงกันข้าม เรียงเวียนสลับ รูปรีแกมรูปไข่หรือรูปไข่แกมรูปขอบขนาน เนื้อใบค่อนข้างหนา ผิวใบเกลี้ยง ท้องใบมีนวลขาวอมเทา ใบแก่อายุมากมีสีแดง เส้นใบหลัก 1 เส้น เส้นใบข้างโค้ง 3-7 คู่ นูนขึ้นทั้งสองด้าน ปลายใบแหลม
“ส้มป่อย” เป็นพืชยืนต้นขนาดเล็กหรือเป็นไม้พุ่ม ลักษณะลำต้นเลื้อยหาที่ยึดเกาะขึ้นไปตามกิ่งไม้ แต่ไม่มีมือจับ เถาของส้มป่อยจะแข็งแรงมาก สามารถเลื้อยไปตามต้นไม้อื่นได้สูงถึง 6-7 เมตร เปลือกต้นสีน้ำตาล เถาอ่อนสีน้ำตาลแดงมีขนกำมะหยี่หรือขนสั้นหนานุ่มอยู่ทั่วต้นกิ่งก้านมีหนามแหลมสั้นๆ
เนื้อไม้สีน้ำตาลอ่อน แก่นสีน้ำตาลเข้ม เสี้ยนตรง เนื้อละเอียด เลื่อย ไสกบ ตบแต่งง่าย มีกลิ่นหอมเฉพาะตัว แม้จะเป็นไม้สด
ต้น เป็นไม้ยืนต้นผลัดใบ สูง 5–10 เมตร กิ่งอ่อนมีหนามเรือนยอดเป็นพุ่มกลมโปร่ง
ใบ เป็นใบประกอบแบบรูปขนนก มี 3 ใบย่อย ใบกลางจะโตกว่า 2 ใบข้าง เส้นกลางใบและเส้นแขนงใบสีเหลือง
เป็นไม้ยืนต้นขนาดใหญ่ ลำต้นชลูด เปลาตรง สูงถึง 50 เมตร โคนต้นเป็นพูพอน สูง เปลือกเรียบ
ใบเป็นใบประกอบแบบขนนกชั้นเดียว หูใบเล็กมาก ยาว 2-4 มิลลิเมตร ใบย่อยมี 7-11 ใบ
ไม้ต้น ขนาดกลางถึงขนาดใหญ่ ผลัดใบ เปลือกเรียบสีเทาคล้ำกิ่งอ่อนมีขนคลุมบาง ๆ เรือนยอดแผ่ทรงเจดีย์ต่ำ
ไม้ต้นขนาดกลางถึงขนาดใหญ่ สูง 20-30 ม. ขนาดทรงพุ่ม 10-15 ม. ผลัดใบ ทรงพุ่มกลม ค่อนข้างแน่น เปลือกต้นสีนํ้าตาลอมแดงหรือเทา
ต้นเหียง จัดเป็นไม้ยืนต้นขนาดกลางผลัดใบ มีความสูงของต้นประมาณ 8-28 เมตร ลำต้นเปลาตรง แตกกิ่งก้านน้อย เรือนยอดเล็ก
เป็นต้นไม้ขนาดใหญ่ สูง 20-40 เมตร เปลือกมียางเหนียว
ใบเดี่ยว เรียงสลับกัน ใบเป็นรูปรี ฐานใบมน กิ่งแหลม ปลายใบแหลม ขอบใบหยักเป็นคลื่นเล็กน้อย เมื่อแตกใบอ่อนจะมีสีชมพูแดง
ไม้ต้น ขนาดกลาง ถึงขนาดใหญ่ ลำต้นตรง เปลือก เรียบ สีน้ำตาลเข้ม มีรอยด่างสีเทาและเหลืองสลับ มีต่อมระบายอากาศกระจายทั่วไป ใบ มนหรือรูปไข่ปลายใบสอบเรียว หรือหยักเป็นติ่งยาวโคนมน หลังใบเรียบเป็นมัน ท้องใบมีขนสีน้ำตาลปนเหลืองเป็นกระจุก
ไม้ต้นขนาดใหญ่ ผลัดใบ ทรงพุ่มกลมหรือทรงกระบอก แน่นทึบ กิ่งห้อยย้อย เปลือกต้นสีเทาเข้มเกือบดำ ผิวขรุขระ มีรอยแตกเป็นทางยาว ใบเดี่ยว เรียงตรงข้าม รูปไข่แกมรูปขอบขนาน กว้าง 6-10 ซม. ยาว 16-24 ซม. ปลายใบเรียวแหลมเป็นติ่งโคนใบมน แผ่นใบค่อนข้างหนา และเหนียว สีเขียวเข้ม
ไม้ต้นขนาดกลางถึงขนาดใหญ่ ไม่ผลัดใบรูปทรงแคบสูง รูปพีระมิด กิ่งก้านลู่ลง เปลือกต้นสีน้ำตาล มีขีดแคบยาวและรอยด่างสีขาวทั่วทั้งลำต้น ใบเดี่ยว เรียงสลับ รูปใบหอกแคบ กว้าง 3-5 ซม. ยาว 15-25ซม. ปลายใบแหลม โคนใบสอบขอบใบเป็นคลื่นแผ่นใบบางแต่ค่อนข้างเหนียว สีเขียวเข้มเรียบเป็นมัน ก้านใบยาว 0.5-1 ซม.
ถิ่นกำเนิดมาจากอเมริกาใต้ มักจะมีมดชนิดที่ดุร้ายเฉพาะถิ่นที่อาศัยอยู่ในโพรงบริเวณกิ่ง และมดนี่เองที่ช่วยป้องกันต้นไม้จากสัตว์กินพืชต่างๆ จึงเป็นที่มาของชื่อ Ant tree ส่วนในประเทศไทยเรามักจะคุ้นเคยกันในชื่อปาโลแซนโตส ต้นไม้ที่มีช่อสีแดงสวยงาม
ต้นเป็นพรรณไม้ยืนต้น ขนาดกลางจนถึงขนาดใหญ่ ลักษณะของลำต้นเหมือนรูปกรวยคว่ำ ปลายแหลม เปลือกลำต้นแตกเป็นสะเก็ดเล็ก ๆ สีน้ำตาลปนเทา ลำต้นสูงประมาณ 10-20 เมตร
ลักษณะของลำต้นทองกวาวเป็นไม้ยืนต้นขนาดกลาง ความสูงเฉลี่ยอยู่ที่ประมาณ 8–15 เมตร เป็นไม้ผลัดใบ เรือนยอดเป็นพุ่มกลมทึบ ลำต้นแตกกิ่งต่ำคดงอซึ่งเป็นไปโดยตามธรรมชาติของเขา
ถิ่นกำเนิด ปารากวัย อาร์เจนตินา และบราซิล ลำต้น มีเปลือกสีน้ำตาล แตกเป็นร่อง ใบประกอบรูปนิ้วมือ มีใบย่อย 5-7 ใบ รูปรีแกมรูปขอบขนาน ปลายใบมนหรือแหลม โคนใบมน ใบเหลือบสีเงินทั้งสองด้าน
ถิ่นกำเนิดพบในประเทศลาว พม่า และไทย ขึ้นในป่าเบญจพรรณใกล้แหล่งน้ำทั่ว ๆ ไป ลำต้น มีเรือนยอดกลมหรือทรงกระบอก เปลือกต้นสีเทาเรียบหรือแตกเป็นสะเก็ดเล็ก ๆ ตื้น ๆ เนื้อไม้สีขาวอมน้ำตาล แก่นสีน้ำตาลอมดำ เรือนยอดเป็นพุ่มทึบ
ถิ่นกำเนิดในทวีปอเมริกาใต้ ถูกนำเข้ามาปลูกครั้งแรกในประเทศไทยจากประเทศพม่า เมื่อประมาณปี 2443 (ค.ศ. 1900) โดยมิสเตอร์เอ็ชเสลด (Mr. H. Slade) ไม้ต้นขนาดใหญ่ สูง 15-25 เมตร ผลัดใบเรือนยอดแผ่เป็นพุ่มกว้างคล้ายร่ม โคนต้นเป็นพูพอนต่ำ เปลือกสีน้ำตาลปนเทา แตกตามยาวขรุขระไม่เป็นระเบียบ
เราใช้คุกกี้เพื่อพัฒนาประสิทธิภาพ และประสบการณ์ที่ดีในการใช้เว็บไซต์ของคุณ คุณสามารถศึกษารายละเอียดได้ที่ นโยบายความเป็นส่วนตัว และสามารถจัดการความเป็นส่วนตัวเองได้ของคุณได้เองโดยคลิกที่ ตั้งค่า