ประ หรือ กระ (Pterocarpus Macrocarpus)

เป็นต้นไม้ขนาดใหญ่ สูง 20-40 เมตร เปลือกมียางเหนียว
ใบเดี่ยว เรียงสลับกัน ใบเป็นรูปรี ฐานใบมน กิ่งแหลม ปลายใบแหลม ขอบใบหยักเป็นคลื่นเล็กน้อย เมื่อแตกใบอ่อนจะมีสีชมพูแดง

หว้า หรือ ห้าขี้แพะ (Syzygium Cumini L.)

ไม้ต้น เนื้อแข็ง ขนาดกลางถึงขนาดใหญ่ ไม่ผลัดใบ เรือนยอดโปร่ง เปลือกนอกสีเทาปนน้ำตาล ขรุขระ หรือแตกเป็นสะเก็ดเล็กน้อย เปลือกในสีน้ำตาลแดง

สุเหรียน (Toona sureni (Blume) Merr.)

ใบ ใบย่อย คู่ขอบใบเรียบขนสั้น มีต่อมรูปถ้วย บนเส้นกลางใบด้านบน มีขนกระจายถึงแน่นโดยเฉพาะบนเส้นใบด้านล่าง
ดอก มีกลิ่นเหม็น เป็นช่อยาว 20-60 ซม. กลีบดอกมีแถบขนตรงกลางกลีบด้านนอก

อ้มหอม หรือ อ้ม,เนียมอ้ม,ต๋านม่วง,ม่วงต๋าน,พังกะ,เนียม,ฝอยฝา,เกดเมือง,เนียมสวน,กระดูกกบ,ราก,ราม,เนียม,เนียมจีน,เนียมบ้าน,กกฟ้า,เล่งม้ง (Chloranthus Spicatus Thunb. Makino

ใบเป็นใบเดี่ยว ออกเรียงตรงข้ามกันเป็นคู่ ๆ ลักษณะของใบเป็นรูปไข่ ปลายใบเรียวแหลมหรือมนก็มี โคนใบสอบ ส่วนขอบใบจักเป็นซี่ ๆ ทู่ ๆ แผ่นใบเป็นสีเขียว

อินทผลัมบาฮี (Phoenix Dactylifera L.)

ลำต้น เป็นไม้ยืนต้น มีลำต้นเดี่ยว ตั้งตรง ทรงต้นเป็นเรือนยอด ลำต้นมีลักษณะกลมๆ เปลือกแข็งและเหนียว มีปุ่มนูนขรุขระ มีรอยของกิ่งก้านที่หลุดออกไป

กระพี้นางนวล หรือ กระพี้,กระพี้จั่น,กระพี้นางนวล,กระพี้เหลือง,กระพี้พูน,กระพี้เหลือบ,กระลิงปิงป่า,เค็ด ขาว,จักจั่น,บี้พง,ปิ้จั่น,อิเม็งใบเล็ก,ประดู่ตาเหลน (Dalbergia Cana Graham Ex Kurz Var. Cana.)

ชื่อ – ชนิด พันธุ์ กระพี้นางนวล หรือ กระพี้,กระพี้จั่น,กระพี้นางนวล,กระพี้เหลือง,กระพี้พูน,กระพี้เหลือบ,กระลิงปิงป่า,เค็ด ขาว,จักจั่น,บี้พง,ปิ้จั่น,อิเม็งใบเล็ก,ประดู่ตาเหลน   ชื่อวิทยาศาสตร์ Dalbergia Cana Graham Ex Kurz Var. Cana.   ประวัติ พบขึ้นทั่วไปในป่าดิบแล้ง ป่าเบญจพรรณ และป่าเต็งรัง อยู่สูงจากระดับน้ำทะเลไม่เกิน 1,000 เมตร   รูปร่าง รูปทรง ( ต้น   ใบ ดอก ผล ) ไม้ต้น สูง 10-30 เมตร  ใบประกอบแบบขนนกปลายคี่ เรียงแบบสลับ ก้านใบยาว 2-3.5 เซนติเมตร มีขนกำมะหยี่หนาแน่น ใบย่อย 17-27 ใบ เรียงสลับ รูปหอกแกมรี ยาว 3-7 เซนติเมตร กว้าง 1.5-2.5…