แพทย์แผนไทย เภสัชกรรมไทย บทที่ 2 เภสัชวัตถุ ( 9-10 )

บทที่ 2 เภสัชวัตถุ 9. สมุนไพรในงานสาธารณสุขมูลฐาน กระทรวงสาธารณสุขได้ตระหนักถึงความสำคัญของการพัฒนาสมุนไพร โดยมีการร่างเป็นนโยบายไว้เป็นแผนพัฒนาการสาธารณสุข ฉบับที่ 6 เพื่อให้บุคลากรสาธารณสุขในระดับต่างๆ

แพทย์แผนไทย เภสัชกรรมไทย บทที่ 2 เภสัชวัตถุ ( 3-8 )

บทที่ 2 เภสัชวัตถุ 3. สัตว์วัตถุ 3.1 สัตว์บก ได้แก่ สัตว์ที่อาศัยอยู่บนบก และหากินบนบก ตัวอย่าง แมลงสาบ ใช้มูลประกอบยา สรรพคุณ แก้ลิ้นขาวเป็นฝ้า เป็นละออง แก้เม็ดยอด ในปาก แก้ฟกบวมที่มีพิษร้อน แก้กามโรค (ต้องคั่วหรือสุมก่อนปรุง) กวาง เขาแก่

แพทย์แผนไทย เภสัชกรรมไทย บทที่ 2 เภสัชวัตถุ ( 2 )

บทที่ 2 เภสัชวัตถุ 3. สัตว์วัตถุ 3.1 สัตว์บก ได้แก่ สัตว์ที่อาศัยอยู่บนบก และหากินบนบก ตัวอย่าง แมลงสาบ ใช้มูลประกอบยา สรรพคุณ แก้ลิ้นขาวเป็นฝ้า เป็นละออง แก้เม็ดยอด ในปาก แก้ฟกบวมที่มีพิษร้อน แก้กามโรค

ประกาศกระทรวงสาธารณะสุข เรื่อง ยาสามัญประจําบ้านแผนโบราณ พ.ศ. 2556

ประกาศกระทรวงสาธารณะสุข เรื่อง ยาสามัญประจําบ้านแผนโบราณ พ.ศ. 2556

ยาสามัญประจำบ้านแผนโบราณ 24 ขนาน
1. ยาประสะกะเพรา
วัตถุส่วนประกอบ
1 ส่วน : เกลือสินเธาว์
2 ส่วน : พริกไทย ขิง ดีปลี กระเทียม
8 ส่วน : ชะเอมเทศ มหาหิงค์

แพทย์แผนไทย เภสัชกรรมไทย บทที่ 2 เภสัชวัตถุ ( 1 )

บทที่ 2 เภสัชวัตถุ เภสัชวัตถุ คือ วัตถุธาตุนานาชนิดที่นำมาใช้ประกอบเป็นยารักษาโรค ตามคัมภีร์แพทย์กล่าวไว้ว่า “สรรพวัตถุต่างๆ ที่เกิดขึ้นมาในโลกนี้ล้วนเกิดขึ้นแต่ธาตุ ทั้ง 4 ย่อมเป็นยารักษาโรคได้ทั้งสิ้น” ตามคำกล่าวก็อาจจะเป็นได้

แพทย์แผนไทย เภสัชกรรมไทย บทที่ 3 สรรพคุณเภสัช

แพทย์แผนไทย เภสัชกรรมไทย บทที่ 3 สรรพคุณเภสัช
สรรพคุณเภสัช คือ การรู้จักสรรพคุณของวัตถุที่จะนำมาใช้เป็นยารักษาโรค
การจำแนกรสยาสามารถแบ่งออกเป็น 2 ลักษณะ
1. ยารสประธาน 3 รส
2. รสของตัวยา 4, 6, 8, 9 + จืด

แพทย์แผนไทย เภสัชกรรมไทย บทที่ 4 คณาเภสัช

แพทย์แผนไทย เภสัชกรรมไทย บทที่ 4 คณาเภสัช
คณาเภสัช : จัดหมวดหมู่ตัวยาหลายสิ่ง ตั้งแต่ 2 สิ่งขึ้นไปรวมกัน เรียกเป็นชื่อเดียวกัน เรียกเป็นคำตรงตัวยา เรียกเป็นคำศัพท์ จัดตั้งพิกัดเพื่อ สะดวกในการจดจำ สะดวกในการเข้าตำรา สะดวกในการปรุงยา จัดตั้งพิกัดอาศัย รสยาไม่ขัดกัน สรรพคุณเสมอ หรือ คล้ายคลึงกัน

แพทย์แผนไทย เภสัชกรรมไทย บทที่ 5 เภสัชกรรม

แพทย์แผนไทย เภสัชกรรมไทย บทที่ 5 เภสัชกรรม
เภสัชกรรม คือ รู้จักการปรุงยา ผสมเครื่องยาหรือตัวยาตามที่กำหนดในตำรับยา หรือตามใบสั่งยา
1. วิธีปรุงยา
1.1 หลักการปรุงยา ปรุงจาก : พืช สัตว์ แร่ธาตุ จากวัตถุที่เกิดขึ้นเองตามธรรมชาติ มีกากเจือปนมาก : ใช้ตัวยาปริมาณมาก และ หลายสิ่งรวมกัน

แพทย์แผนไทย เภสัชกรรมไทย ภาคผนวก

แพทย์แผนไทย เภสัชกรรมไทย ภาคผนวก
การสับยา สมุนไพรสดหรือแห้งในส่วนต่างๆ มาทำให้มีขนาดเล็กลง
การอบยา การอบยาที่ปรุงเป็นตำรับ : อบยาอุณหภูมิ 50 – 55 °C นาน 4-6 ชั่วโมง
การบดยา นานครั้งละ 3 ชั่วโมง
การร่อนยา นำยาที่บดละเอียดแล้ว มาร่อนผ่านตะแกรง ( หรือ แร่ง ) ได้ผงยาที่ละเอียดมากขึ้นตามความต้องการ

แพทย์แผนไทย เภสัชกรรมไทย บทที่ 1 ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับเภสัชกรรม

แพทย์แผนไทย เภสัชกรรมไทย บทที่1 ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับเภสัชกรรม
1. ประวัติความเป็นมา
1.1 ประวัติแพทย์แผนโบราณ พุทธกาล มีมาก่อนพุทธกาล / เริ่มบันทึกสมัยพุทธกาล
ปู๋ชีวกโกมารภัทร ศึกษาเพราะเป็นวิชาชีพที่ไม่เบียดเบียนผู้ใด ศึกษาที่สำนักทิศาปาโมกข์ เมือง ตักศิลา